1 อ่างเก็บน้ำ
2 เขื่อน
3 อาคารโรงไฟฟ้า
4 ท่อส่งน้ำเข้าโรงไฟฟ้า
5 ลานไกไฟฟ้า
6 ทางระบายน้ำล้น
รายละเอึยด

ปริมาณน้ำหลาก

ปริมาณน้ำหลากสูงสุดที่อาจเกิดขึ้นได้

7,100 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที

ปริมาณน้ำหลากในอดีตสูงสุด
2,650 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที

อ่างเก็บน้ำ

พื้นที่รับน้ำ
10,800 ตารางกิโลเมตร
ปริมาณน้ำไหลเข้าอ่างเฉลี่ยปีละ
4,600 ล้านลูกบาศก์เมตร

ความจุของอ่างเก็บน้ำที่ระดับ

สูงสุด +182.4 เมตร (รทก.)
18,790 ล้านลูกบาศก์เมตร
ปรกติ +180.0 เมตร (รทก.)
17,745 ล้านลูกบาศก์เมตร
ต่ำสุด +159.0 เมตร (รทก.)
10,276 ล้านลูกบาศก์เมตร
ความยาวอ่างเก็บน้ำ
130 กิโลเมตร

เขื่อน

แบบ
หินทิ้ง มีแกนกลางเป็นดินเหนียว
ความสูง (จากฐานเขื่อน)
140 เมตร
ความกว้างมากทีสุดของฐานเขื่อน
586 เมตร
ระดับสันเขื่อน
+185.0 เมตร (รทก.)
ความยาวสันเขื่อน
610 เมตร
ความกว้างสันเขื่อน
15 เมตร
ความลาดชัน
1.4 ต่อ 1
ปริมาตรของเขื่อน
12.3 ล้านลูกบาศก์เมตร

อุโมงค์ผันน้ำ

ที่ตั้ง
บนฝั่งขวา
แบบ
อุโมงรูปเกือกม้าดาดคอนกรีตเสริมเหล็ก
เส้นผ่าศูนย์กลาง
6 เมตร
ความยาว
อุโมงค์ที่หนึ่ง
1,010 เมตร (รทก.)
อุโมงค์ที่สอง
1,143 เมตร (รทก.)
ระดับปากอุโมงค์รับน้ำ  
อุโมงค์ที่หนึ่ง
+55 เมตร (รทก.)
อุโมงค์ที่สอง
+65 เมตร (รทก.)
ระดับปากอุโมงค์ปล่อยน้ำ  
อุโมงค์ที่หนึ่ง
+52 เมตร (รทก.)
อุโมงค์ที่สอง
+57 เมตร (รทก.)

อาคารระบายน้ำล้น

อาคารระบายน้ำล้น
เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
 
ติดตั้งประตูบานโค้ง จำนวน 3 บาน
 
ขนาดกว้าง 10 เมตร สูง 9.5 เมตร
ระดับของสันทางระบายน้ำ
+171 เมตร รทก.
รางรับน้ำ
กว้าง 33.5 - 20 เมตร ยาว 390 เมตร
ความสามารถในการระบายน้ำสูงสุด
2,420 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที

อาคารปล่อยน้ำเพื่อการชลประทาน

ระดับที่รับน้ำ
+120 เมตร รทก.
อุโมงค์ระบายน้ำ
อุโมงรูปเกือกม้าดาดคอนกรีตเสริมเหล็ก
 
(ใช้อุโมงค์ผันน้ำที่หนึ่งทำหน้าที่ปล่อยน้ำชลประทาน)
อาคารปล่อยน้ำ
ติดตั้งบานประตูไว้ 1 บาน
 
ขนาดกว้าง 2.2 เมตร สูง 2.6 เมตร
ความสามารถในการปล่อยน้ำ
160 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที

อาคารรับน้ำเฃ้าโรงไฟฟ้า

แบบ
อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
บานประตู

Roller Gate จำนวน 3 ชุด

 
แต่ละชุดกว้าง 7.5 เมตร สูง 8 เมตร
ตะแกรงเหล็ก
จำนวน 10 ชุด โดย 6 ชุดแรกกว้าง 5.25 เมตร สูง 28 เมตร
 
อีก 4 ชุดกว้าง 6.4 เมตร สูง 16 เมตร

ท่อส่งน้ำเข้าโรงไฟฟ้า

แบบ
ท่อเหล็กเชื่อมกันแล้วยึดด้วยแหวน
จำนวนท่อเหล็ก
3 ท่อ
ความยาวแต่ละท่อ
287 เมตร
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
6 - 4.5 เมตร

อาคารโรงไฟฟ้า

แบบของอาคาร
อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาด กว้าง 28 เมตร
 
ยาว 55.5 เมตร สูง 25.2 เมตร จำนวน 3 ช่วง
ปั้นจั่นประจำโรงไฟฟ้า
ขนาด 200,20 และ 5 เมตริกตัน
ประตูปล่อยน้ำออก
จำนวน 6 ชุด แต่ละชุดกว้าง 4.6 เมตร สูง 5.6 เมตร
เครื่องกำเนิดไฟฟ้า
จำนวน 3 เครื่อง เครื่องละ 100,000 กิโลวัตต์
กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยปีละ
777 ล้านกิโลวัตต์ชั่วโมง

ระดับน้ำทางด้านท้ายน้ำที่โรงไฟฟ้า

ระดับน้ำต่ำสุด
+53.0 เมตร รทก.
ระดับน้ำสูงสุด(เมื่อเดินเครื่องทั้งสามหน่วยเต็มที่)
+59.7 เมตร รทก.
ระดับน้ำสูงที่สุด(ถ้าเกิดน้ำท่วม)
+64.3 เมตร รทก.

 

รายละเอึยด

ส่วนประกอบของเขื่อนศรีนครินทร์

ข้อมูลทั่วไป

เขื่อน

แม่น้ำ

แผนงานพัฒนา

การใช้ดินและน้ำ

โครงการแม่กลองใหญ่

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

mailto:fengcrk@ku.ac.th